
เด็กไทยยุคใหม่ทำไมไม่ชอบการเขียน
– สิ่งสุดท้ายที่เด็กไทยร้อยละ 35 ทำก่อนนอนคือการเล่น Facebook และ LINE
– เด็กไทยมีตัวเลขการใช้โทรศัพท์
– เด็กไทยร้อยละ 75.7 เล่น Social Network บ่อยจนไปถึงประจำ
– เด็กนักเรียนหญิงเล่น Social Network มากกว่านักเรียนชาย
– เด็กไทยร้อยละ 20.3 มีการใช้มือถือระหว่างคาบเรี
– เด็กไทยร้อยละ 42.5 รู้สึกทนไม่ได้ถ้าอยู่คนเดี
– เด็กไทยร้อยละ 28.7 ระบุว่าถูกคุกคามทางเพศจากเพื่
นอกจากนี้ผลวิจัยจากบริษัทมือถื
สถิตินี้กำลังบอกอะไรกับเราอยู่
เปลี่ยนผู้ร้าย IT ให้เป็นพระเอกตัวจริง
กล้ามเนื้อมือ เป็นกล้ามเนื้อสำคัญที่ในการพั
– นิ้วโป้ง สัมพันธ์กับสมองกลีบด้านหน้าซึ่
– นิ้วชี้ สัมพันธ์กับสมองกลีบด้านหลังซึ่
– นิ้วกลาง สัมพันธ์กับสมองกลีบข้างขม่อมซึ
– นิ้วนาง สัมพันธ์กับสมองกลีบขมับซึ่งเกี
– นิ้วก้อย สัมพันธ์กับสมองกลีบท้ายทอยซึ่

เด็กควรได้เรียนรู้ผ่านการลงมือทำมาก ๆ
แล้วเกี่ยวอย่างไรกับการเขียน? ปัญหาเรื่องลายมือ ปัญหาเรื่องการเขียนกลับด้าน ปัญหาเรื่องการมีความพยายามต่ำ ฯลฯ เป็นปัญหาที่มีจุดเริ่มต้นมาจากวิถีชีวิตในปัจจุบันทั้งสิ้นค่ะ การออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะช่วยให้เราซึ่งเป็นแม่บ้านในยุคใหม่ สามารถเลี้ยงลูกได้อย่างสะดวกสบายขึ้น กลายมาเป็นตัวขวางการพัฒนาการของข้อมือของเด็กในช่วงที่ถึงวัยต้องจับปากกา ดินสอ ก็เพราะว่า “ที่พยุงเด็กฝึกเดิน” ไปทำให้โอกาสในการคลานของเด็ก ๆ “ลดลง” แบบที่เราก็ไม่เคยคาดคิดค่ะ เมื่อข้อต่อบริเวณข้อมือไม่ได้ฝึกรับน้ำหนักมาตั้งแต่วัยหัดคลาน พอถึงวัยหัดเขียนคุณพ่อคุณแม่หรือแม่กระทั่งคุณครู ต้องมาเห็นบรรยากาศการวาดรูปด้วยน้ำตาของลูกแทนที่จะเป็นการปลดปล่อย จินตนาการ นักบำบัดจึงเข้ามามีบทบาทในการฝึกคลาน หรือฝึกทำท่าไถนา (ให้เด็กใช้มือตั้งศอกตรงวางลงบนพื้นและผู้ฝึกยกขาให้เด็กเดินไปข้างหน้า เหมือนไถนา) นี่เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่เครื่องอำนวยความสะดวกเข้ามาทำหน้าที่จนทำให้เราเสียโอกาสในการพัฒนาลูก แบบที่หลายครอบครัวคงคิดไม่ถึงนะคะ
ทำให้ลูกมีนิสัยรักการอ่าน
ทั้งนี้เมื่อรวมเข้ากับวิธีการใช้ชีวิตของคุณพ่อคุณแม่ Generation Y อย่างพวกเราแล้วละก็ ยังมีอีกหลายข้อ ที่ความสะดวกรวดเร็วกำลังกลับมาเป็นปัญหาที่ต้องมาแก้เมื่อลูกถึงวัยที่ควร จะพัฒนาได้ค่ะ จากปัญหาการไม่อยากขีด ๆ เขียน ๆ มาประกอบกับการแทนที่ของเครื่องมือลาก ๆ จิ้ม ๆ ที่ง่ายสำหรับการใช้งาน เเถมยังสนุกเพราะเป็นการกระตุ้นสมองด้านเดียวคือ ด้านความคิด (ส่วนใหญ่ใช้นิ้วชี้) เด็ก ๆ จึงสนุกคิด แต่ไม่สนุกทำ ความสามารถในการคิดฝันจิตนาการ project ต่าง ๆ สูงลิ่ว แต่ความสามารถในการลงมือทำต่ำแบบสวนทางกันค่ะ จึงไม่น่าแปลกใจที่วัยประถมศึกษา จะเป็นวัยที่พบว่าเด็กมีปัญหาในการเรียนสูงมากขึ้น ๆ เมื่อถึงวัยมัธยมก็ได้กลายไปเป็นเด็กหลังห้องให้คุณครูและผู้ปกครองตามแก้ กันอย่างน่าปวดหัวค่ะ
การเขียนของเด็กในวันนี้สะท้อนภาพอะไรที่มากมาย เราลองกลับมาให้เครื่องมือง่าย ๆ เช่น กะบะทราย ดินสอ สี กระดาษ ใบไม้ใบหญ้า หรือดินเหนียวกับลูก ๆ ให้ลูกได้เรียนรู้จากสัมผัสที่มากพอเพื่อเป็นประสบการณ์ของสมองที่สมดุลย์ ก่อนที่จะต้องกลับมาซ่อมแซมและสร้างสมดุลย์ที่เสียไปกันดีไหมค่ะทุกท่าน ^_^
โดย ครูป๋วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น