การประชุมวิชาการ : การพัฒนาศักยภาพสมองเด็กปฐมวัยผ ่านการอ่าน
วันที่ 26 – 28 มีนาคม 2555
ณ ห้องประชุมรักตะกนิษฐ2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
Dr.Barry Zuckerman, MD
Brain and Child Development : Basic for reading
พัฒนาการพื้นฐานของทักษะการอ่าน ในช่วงขวบปีแรก
- ระบบประสาทสัมผัส
- กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- กล้ามเนื้อมัดเล็กและการใช้ตาแล ะมือประสานงานกัน
- สติปัญญา
... - พัฒนาการทางภาษา
- สังคมและอารมณ์
เราต้องเข้าใจทิศทางพัฒนาการ เราต้องรู้อะไรว่าเกิดก่อน – หลัง เพราะพัฒนการของเด็กจะเกิดขึ้นใ หม่เรื่อยๆ
ลำดับพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเ ล็ก : การจับคว้าของ
- 6 เดือน เขี่ยสิ่งของโดยไม่มีเป้าหมาย
- 8 เดือน เขี่ยสิ่งของโดยใช้นิ้วหัวแม่มื อและนิ้วชี้
- 9 เดือน สามารถจับสิ่งของชิ้นเล็กโดยใช้ นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้
พ่อแม่ควรดู / สังเกตวิธีการหยิบของลูกด้วยว่าเข ามีวิธีการหยิบอย่างไร เพราะถ้าถึงวัยที่เด็กสามารถใช้ นิ้วหัวแม่มือและนิ้วได้แล้ว แต่เด็กยังเขี่ยๆ ของอยู่นั่นแสดงว่าอาจมีปัญหาอะ ไรบางอย่างเกิดขึ้น
ลำดับพัฒนาการของการใช้ตาและมือ ประสานงานกัน
- 6 เดือน คว้าของโดยไม่มีจุดหมาย
- 7 – 8 เดือน เริ่มทำมือเพื่อจะหยิบของ เมื่อมือถึงของที่จะหยิบ
- 9 เดือน เริ่มทำมือเมื่อพร้อมจะหยิบของใ นระยะครึ่งทางก่อนที่จะหยิบ
- 12 เดือน เริ่มทำมือเมื่อพร้อมจะหยิบของก ่อนที่จะหยิบ
ความสามารถของการใช้กล้ามเนื้อม ือของเด็กจะมีพัฒนาการ / มีความสามารถในการใช้งานได้ดีขึ้น ตามลำดับ เมื่อมองลึกเข้าไปในสมอง การก้าวข้ามพัฒนาการแต่ละขั้นจะ มีการเกิด Myelination ในสมองที่ทำหน้าที่นั้นอย่างต่อ เนื่อง
ลำดับพัฒนาการของการเล่น
- 6 เดือน เริ่มคว้าของ และจะทำในลักษณะ React
- 7 – 8 เอาของเล่นมาเคาะกัน / เขย่า และเอาเข้าปาก
- 9 เดือน เริ่มมีการสำรวจของเล่นโดยใช้ตา และมือประสานกัน
- 12 เดือน เล่นแบบมีปฏิสัมพันธ์กันทางสังค ม แต่ยังเป็นการเล่นแบบสมมติที่เก ี่ยวข้องกับตนเองเป็นหลัก
- 18 เดือน เล่นแบบมีปฏิสัมพันธ์กันทางสังค ม และเริ่มเล่นแบบสมมติที่เกี่ยวข ้องกับสิ่งอื่นรอบตัว เช่น ตุ๊กตา
เมื่อเด็กๆ เล่น เขาจะ Explore สิ่งแวดล้อม โดยการเคาะ เขย่า ปา หมุนไป – มา เมื่อเขาได้สำรวจแล้ว การรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสของ เขาจะก่อให้เกิดกระบวนการคิดขึ้ นในสมอง เช่น เขาจะรู้ว่าอันนี้นุ่ม แข็ง หรือมีเสียง
* ในประเด็นการมัฒนาการถดถอย ถ้าเด็กป่วยหรือมีภาวะอะไรบางอย ่างเขาจะแสดงพฤติกรรมถดถอย
ลำดับพัฒนาการทางสติปัญญา : Object permanence
ลำดับขั้นของ Piaget อายุ Object permanence
I แรกเกิด – 1 เดือน มองวัตถุเหมือนภาพที่เปลี่ยนภาพ ไปเรื่อยๆ
II 1 – 4 เดือน ถ้าไม่เห็นวัตถุอยู่ในสายตา คือไม่มีวัตถุนั้น
III 4 – 8 เดือน เริ่มมองตามของที่ตก
IV 9 – 12 เดือน เริ่มหาของที่ถูกซ่อนไว้ ช่วง 9 เดือน+ เมื่อไม่เห็นของเด็กจะเริ่มรู้ว ่าเราซ่อนของไว้
V 12 – 18 เดือน เริ่มหาของที่ถูกซ่อนไว้ ถึงแม้จะเปลี่ยนที่ซ่อนให้เห็นห ลายครั้ง
VI 18 เดือน – 2 ปี หาของที่ถูกซ่อนไว้ ถึงแม้จะเปลี่ยนที่ซ่อนโดยไม่ให ้เห็น และเข้าใจว่าของสิ่งนั้นยังอยู่ ถึงแม้จะมองไม่เห็น
* ช่วง 9 เดือน เด็กเริ่มมีภาพอะไรๆ อยู่ในสมอง เมื่อเขามองไม่เห็นหรือภาพถึงดึ งไปเขาจะเริ่มส่งสัญญาณ โดยการร้องออกมา
ความพร้อมของสมองทารก
1 ทารกจะจำเสียงมารดาได้
2 มารดาพูดด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย
3 แยกแยะเสียงได้
ลำดับพัฒนาการทางภาษา
- แยกแยะเสียง
- เปล่งเสียงที่ไม่ต้องใช้ริมฝีปา ก เช่น เสียง “อ” ช่วง 4 – 8 เดือน
- เปล่งเสียงที่ต้องใช้ริมฝีปาก เช่น เสียง “ป” ช่วง 9 เดือน
- พูดคำที่มีความหมายคำแรก ช่วง 13 เดือน ( -8 – 18 เดือน )
- ถ้าเสียงที่เด็กเปล่งออกไปมีการ ตอบสนอง มันจะมี Meaning กับเด็กมาก และจะเป็นผลต่อพัฒนการทางภาษาขอ งเด็กในลำดับต่อไป
- เด็กจะมีความสามารถในการแยกแยะภ าษาได้ดีเยี่ยม แต่ต้องในกรณีที่เขาต้องได้ยินเ สียงนั้นซ้ำๆ และบ่อยๆ
สมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการอ่า น
Trend in Cognitive Sciences
สมองและประสบการณ์แรกเริ่ม
พัฒนาการของสมอง
* พิจารณาจำนวนเซลล์ประสาทเมื่อแร กเกิด และช่วงอายุ 6 ปี จะพบว่า ความเชื่อมโยงของเซลล์ประสาทนั้ นมีการเชื่อมโยงและหนามากขึ้น ทั้งนี้เกิดเนื่องจากอิทธิพลของ การกระตุ้นและการจัดประสบการณ์ท ี่มีคุณภาพและเหมาะสมในช่วงปฐมว ัย
* เราจะช่วยให้เด็กมีทักษะในสมองเ พื่อการอยู่รอดได้ (Survival brain) ถ้าเราใช้สมองส่วนไหนเยอะส่วนนั ้นจะมีพัฒนาการขึ้นมา โดยเฉพาะถ้าเราเริ่มตั้งแต่วัยเ ด็ก
* ในช่วง 6 เดือนแรกควรใช้คนในการกระตุ้นพั ฒนาการ เพราะคนสำคัญกว่าการเล่นทั้งหมด ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับมนุษย์เป ็นสิ่งที่สำคัญมาก
ลำดับพัฒนาการของการมีปฏิสัมพัน ธ์ทางอารมณ์และสังคม
1 ความผูกพันทางอารมณ์ (Attachment)
- 3 เดือน ผูกพันกับคนโดยเชื่อมกับหน้าที่ ที่คนนั้นทำ เช่น ผูกพันกับแม่เพราะแม่ให้กินนม (Differential responsibility )
- 6 เดือน ผูกพันกับคนเชื่อมโยงจากปฏิกิริ ยารอบข้างที่คนนั้นแสดง เช่น สังเกตว่าแม่กลัว เด็กก็จะกลัวด้วย (Social referencing)
- 9 – 12 เดือน ไม่ชอบการพรากจากคนที่ใกล้ชิด (Separate protest)
- 12 – 24 เดือนจะคอยมองหาคนใกล้ชิดเวลาเล ่นหรือเวลาสำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว (Checking in when exploring)
2 ความเป็นตัวของตัวเอง (Autonomy)
อุปสรรคที่ขัดขวางการเรียนรู้
1. ความยากจน คนที่มีเศรษฐานะต่ำ หรือพ่อแม่ที่มีระดับการศึกษาต่ ำ มักจะขาดความรู้ ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญ และไม่มีทุนพอที่จะซื้อหนังสือน ิทาน หรือสื่ออื่นๆ ให้ลูก
2. วัฒนธรรมการเลี้ยงดู ในบางวัฒนธรรมพ่อแม่พูดคุยกับลู กตั้งแต่แรกเกิด แต่บางวัฒนธรรมมีความเชื่อว่าเด ็กเล็กยังไม่รู้เรื่อง จึงยังไม่พูดคุยหรือทำกิจกรรมกั บเด็กมากนัก ซึ่งความเชื่อที่ขาดความรู้ ความเข้าใจบางอย่างอาจจะทำให้เด ็กขาดโอกาสในการเรียนรู้ไปอย่าง น่าเสียดาย
การส่งเสริมพัฒนาการในช่วงวัยเด ็กเล็ก
1 พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการ เรียนรู้ โดยเริ่มตั้งแต่ช่วงที่มารดาตั้ งครรภ์
2 ความสามรถในการเข้าถึงหน่วยงานท ี่ให้ความช่วยเหลือทางด้านสุขภา พ การศึกษาและทางสังคม
การให้การศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ในเด็กเล็ก
1 ครูที่มีทักษะในการสอน
2 จำนวนผู้เรียนในชั้นเรียนน้อย
3 หลักสูตรที่เหมาะสมกับความสามาร ถของผู้เรียนและสามารถกระตุ้นกา รเรียนรู้ได้
4 สิ่งแวดล้อมที่มีการพูดคุยสื่อส าร
5 การตอบสนองต่อเด็กแบบนุ่มนวล
6 เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างส ม่ำเสมอและต่อเนื่อง
Promoting Early Literacy : Reach out and Read
หลักฐานสำหรับการอ่านหนังสือแบบ ออกเสียงให้เด็กฟัง
1 ความพร้อมของสมองทารก
- ทารกสามารถจำเสียงแม่ได้
- มารดาสื่อสารด้วยคำพูดง่ายๆเพื่ อให้เด็กเข้าใจ
- การแยกแยะเสียง ภายใต้เงื่อนไขว่าเด็กต้องได้ยิ นซ้ำๆ
* หนังสือที่สอนหรือช่วยในการแยกแ ยะเสียง คือหนังสือประเภทคำกลอน หรือมีจังหวะในการอ่าน ซึ่งจะช่วยให้เด็กพัฒนาในเรื่อง จำนวนคำ เวลาที่เราอ่านหนังสือให้เด็กฟั งเราควรให้น้ำเสียงหรือคำที่ไม่ พูดหรือใช้ในชีวิตประจำวัน ถ้าเราใช้ภาษาอ่านที่เป็นภาษาเฉ พาะพัฒนาการทางภาษาของเด็กจะดีก ว่า
* ช่วงอายุประมาณ 18 เดือน เด็กจะสามารถเรียนรู้การถือหนัง สือได้ถูกต้อง หลังจากนั้นจึงสอนเพื่อให้เข้าใ จโครงเรื่อง สอนการลำดับรื่องราวก่อน – หลัง
* ช่วงแรกเราควรให้คำสำคัญกับการร ักการอ่าน ให้รักหนังสือมากกว่าการมุ่งเน้ นให้
เด็กอ่านได้ พ่อแม่ควรใช้เวลาในการสอน หรือมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กจริงๆ
ไม่มุ่งเน้นให้รู้หนังสือ แต่มุ่งสนใจที่ตัวเด็กเป็นหลัก
ที่สำคัญคือเน้นย้ำเรื่องการทำก ารอ่านให้เป็นเรื่องสนุกและให้เ ด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด
ความสำคัญของการอ่านอ่านหนังสือ แบบออกเสียง
1 เรียนรู้การถือหนังสือ การเปิดหน้าหนังสือ การเริ่มอ่านจากหน้าแรก
2 โครงสร้างของเรื่อง การเริ่มต้นเรื่อง ตอนกลางของเรื่อง และตอนท้ายของเรื่อง
3 เข้าใจพื้นฐานของเสียงที่ประกอบ ออกมาเป็นคำ
4 เข้าใจทักษะพื้นฐานในการอ่าน : รู้จักพยัญชนะ
5 เข้าใจว่าตัวหนังสือที่เห็นเป็น ตัวแทนของเสียงพูด
6 เปอร์เซนต์ของจำนวนคำใหม่และคำท ี่ไม่คุ้นเคยสามารถทำนายพัฒนากา รทางภาษาได้
7 พัฒนาการทางอารมณ์
- มีความสนใจร่วม
- ได้รับความสนใจจากพ่อ แม่
- สื่อสารอารมณ์ได้ เช่น เสียใจ อิจฉา ไม่เห็นด้วย ความตาย หนังสือที่สามารถส่งผลต่อพัฒนาก ารทางอารมณ์ เช่น หนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกา รแสดงอารมณ์ ความรู้สึก
* การอ่านเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ 1 ต่อ 1 ที่สำคัญระหว่างแม่ – เด็ก และในบางครั้งหนังสือถูกใช้หรือ เป็นเครื่องมือในการเชื่อมความส ัมพันธ์ระหว่างเด็ก – ผู้ใหญ่ เช่น เด็กอาจถือหนังสือเพื่อเอาไปให้ แม่อ่าน ในกรณีนี้ บางครั้งเด็กอาจไม่ได้ต้องการอ่ านหนังสืออย่างจริงจัง แต่เขาใช้หนังสือเป็นเครื่องมือ ในการที่จะได้ใกล้ชิดหรือได้สัม ผัสกับแม่นั่นเอง
* ในกรณีเด็กออทิสติกเราสามารถใช้ หนังสือทดสอบเพื่อดูว่า เด็กมีความสัมพันธ์ร่วมกับเรามา กแค่ไหน
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 0 – 12 เดือน
- รูปภาพที่มีรูปเด็กอื่น
- สีสันสวยสดใส
- มีรูปภาพสิ่งของที่คุ้นเคย เช่น ลูกบอล
- ขนาดเล็กกะทัดรัดเพื่อให้เด็กถื อได้
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 12 – 24 เดือน
- หนังสือนิทานที่เด็กสามารถถือไป มาได้
- หนังสือที่มีรูปภาพกิจกรรมที่เด ็กคุ้นเคย เช่น การนอน การกิน การเล่น
- หนังสือนิทานก่อนเข้านอน
- หนังสือที่เกี่ยวกับการทักทาย การลา
- หนังสือที่มีตัวหนังสือน้อยๆ ในแต่ละหน้า
- หนังสือที่มีคำคล้องจองหรือมีคำ ที่เด็กเดาได้
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 24 – 36 เดือน
- หนังสือนิทานหรือหนังสือที่ทำด้ วยกระดาษที่มีหลายหน้า
- หนังสือที่มีเสียงคล้องจอง มีจังหวะเวลาอ่าน หรือมีคำซ้ำๆ ที่เด็กสามารถจำได้ง่าย
- หนังสือที่เกี่ยวกับเด็ก ครอบครัว เพื่อน อาหารและสัตว์
- หนังสือที่สอนคำศัพท์
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 2 – 5 ปี
- หนังสือที่มีการดำเนินเรื่อง
- หนังสือที่มีคำง่ายๆ ที่เด็กสามารถจำได้
- หนังสือที่เกี่ยวกับเด็ก
- หนังสือที่เกี่ยวกับการไปโรงเรี ยน การมีเพื่อน การไปหาหมอ
- หนังสือที่เกี่ยวกับการนับ ตัวอักษร คำศัพท์
* พัฒนาการนั้นมีลำดับขั้นตอนในตั วของมันเอง แม้ว่าเราพยายามจะผลักดันมากแค่ ไหน (ในกรณีที่พ่อแม่เร่งเด็ก) เราก็จำเป็นต้องรอพัฒนาการแต่ละ ขั้นอยู่ดี เมื่อเด็กพร้อมแล้วเขาจะสามารถเ รียนรู้สิ่งเหล่านั้นได้ดี ซึ่งเขาจะแสดงออกมาว่าเขา “สนใจ”
* การจะส่งเสริมการอ่านในครอบครัว ที่ยากจนที่ไม่มีเงินซื้อหนังสื อให้ลูกอ่านนั้น ในชุมชนนั้นจะต้องจัดหาสื่อที่เ หมาะสมในชุมชนนั้นๆ หรือมีอาสาสมัครในการอ่านหนังสื อ และคนที่จะมีปฏิสัมพันธ์โดยการอ ่านกับเด็กโดยตรงนั้นไม่จำเป็นว ่าจะต้องเป็นพ่อแม่ แต่จะเป็นใครก็ได้ที่รักเด็ก สามารถทำให้เด็กสนุกกับการอ่านไ ด้ แต่ถ้าเป็นพ่อหรือแม่ก็จะได้เรื ่อง Attachment
* ในกรณีที่เจอเด็กที่ไม่มีปฏิสัม พันธ์
ในช่วง 9 เดือนแรกจะสังเกตได้อย่างไร? กรณีเด็ก LD ( Learning Disability )
เขาจะไม่มีปัญหา Join Attention ให้วินิจฉัยจากปฏิสัมพันธ์ระหว่ างพ่อแม่กับเด็ก ในกรณีการทำกิจกรรมการอ่านร่วมก ันให้สังเกตปฏิสัมพันธ์กับแม่ต้ องไปด้วยกัน เช่น มีความสนใจในหนังสือร่วมกัน
* บทบาทของพ่อในการเล่นกับลูก พ่อในสังคมไทยไม่รู้จะเล่นกับลู กอย่างไร.....เราจะใช้หนังสือเป ็นเครื่องมือในการเข้าถึงและเล่ นกับลูก หรือเป็นการพูดคุยกับลูกผ่านหนั งสือ วัฒนธรรมไทยโบราณ จะเอากระด้งมาให้ ในกระด้งจะมีหนังสือ นั่นเป็นการแสดงให้เห็นถึงความส ำคัญ
ของหนังสือ และเราควรจะต้องชี้แจงว่า ไม่ใช่แค่อ่านเฉยๆ ต้องเน้นเรื่อง
Person to Person เป็น Social Interaction แล้วเรื่องภาษาจะตามมาทีหลัง
(พญ.นิตยา คชภักดี)
* Dr.Barry Zuckerman พูดถึงระบบการศึกษาของไทยที่เริ ่มให้ความสำคัญกับการศึกษาปฐมวั ย เริ่มจากการเรียนรู้ ความเข้าใจ เหตุผล การเรียนรู้เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ด้วย และต้องเป็นอารมณ์เชิงบวก เพราะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการเ รียนรู้ การศึกษาปฐมวัยไม่ได้เป็นการเรี ยนรู้เพียงแค่ตัวเลข สัญลักษณ์ แต่การเรียนรู้นั้นต้องมาพร้อมก ับความสนุกสนานและความพึงพอใจร่ วมด้วย
เราสามารถใช้หนังสือประเมินพัฒน าการเด็กได้หลายอย่าง การอ่านหนังสือเป็นความใกล้ชิดก ันทางร่างกาย ช่วงที่ใกล้ชิดกันจะมีความสนใจร ่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งเป็นสภาพที่เด็กมีความพึงพอ ใจมาก และที่สำคัญเป็นการปูพื้นฐานในด ้านต้นทุนความเข้มแข็งทางอารมณ์
* การทำกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในค รอบครัวที่ยากจน กับเด็กด้อยโอกาส สิ่งนี้เป็นความหวังของพ่อแม่ที ่ลูกจะมีชีวิตที่ดีขึ้น เราทำให้เขามองเห็นอนาคตของลูก
การทำกิจกรรมการอ่าน ความเข้าใจภาษาของเด็กจะมาก่อนก ารพูดได้ พ่อแม่ต้องมีความเข้าใจและมีควา มคาดหวังที่ถูกต้อง ซึ่งกรณีนี้จะมีความเชื่อมโยงกั บ IQ กิจกรรมการอ่านจะทำใก้เกิดความส นใจ
ร่วมกันระหว่างพ่อ – ลูก, แม่ – ลูก เด็กก่อน 6 เดือนเด็กจะเรียนรู้ภาษา
(เข้าใจ) มาก่อนที่เขาจะพูดออกมา และอีก 6 เดือนต่อมา เด็กจึงจะพูดได้
(รศ.พญ.นิชรา เรืองดารกานนท์)
* ความเครียดมีผลต่อสมองอย่างมาก ความเครียดที่ต่อเนื่องกันจะส่ง ผลให้ร่างกายหลั่งสาร Steriod hormone called Cortisol มีผลต่อระบบอวัยวะทุกส่วนของร่า งกาย
สมองส่วนหน้า Frefrontal lobe , Hippocamps, Grey matter ถ้า Cortisol
ในระดับที่สูงมาก (Toxic steroid) เนื้อสมองจะยิ่งลดน้อยลง
เด็กยากจนเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะเ กิดความเครียดได้ง่าย เนื่องมาจากบริบทและบรรยากาศภาย ในครอบครัว การถูกทุบตี เด็กเหล่านี้จะมีการตื่นตัวเกิน ปกติ (Alert) สมอง (ที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์จะสว่าง วาบทันที)จะมีการปรับตัวเมื่อพบ สภาพ
ความรุนแรง การแสดงออกทางลบต่างๆ เช่น ใบหน้าที่โกรธ สมองก็จะมีการตอบสนอง
ซึ่งจะตรงข้ามกับอารมณ์ทางบวก ที่จะช่วยให้เกิดการ Synape ได้ง่ายขึ้น
และสัมผัส (Attachment) ส่งผลต่อการลดระดับ Cortisol
เมื่อเผชิญกับเหตุการณ์สมองของเ ด็กจะรับรู้และเก็บไว้แล้ว ซึ่งบางครั้งเด็กอาจจะอาจจะไม่ต อบสนองออกมาก็ได้ การปฏิรูปการศึกษาจึงควรจะต้องห ันกลับมามองที่วัยของเด็กด้วย สิ่งที่กระทบต่อการเรียนรู้ เช่น เด็กไม่มีหนังสือ หรือกระทั่งความรู้สึกไวต่อสิ่ง อันตราย
* ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อตัวเด็ก
- ความสามารถในการใช้ภาษาช้าลง ไม่มีการพัฒนาด้านภาษาขึ้นมาเลย พ่อแม่ควรจะตีกรอบหรือตั้งเงื่อ นไขว่า จะให้ลูกทำอะไรเมื่อเขาเล่นกับเ ทคโนโลยี เช่น การให้รู้จักภาพ
จากการศึกษา ไม่พบนัยสำคัญทางบวกเกิดขึ้นทาง ด้านการเรียนรู้ในเด็กอายุน้อยก ว่า 3 เดือน ( No Significant+ of Learning occurs < 3 months) เด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบไม่ควรใช้เทคโนโลยีประเภทจอภ าพ* สื่อโทรทัศน์ที่ส่งผลกระทบทางบว กกับเด็ก เช่น รายการเด็ก Sesami Street** (เหมาะสำหรับเด็ก 3 – 5 ปี : ออกอากาศทาง Thai PBS) รายการนี้ทำให้ความสามารถด้านภา ษา คณิตศาสตร์ และทักษะทางสังคมของเด็กดีขึ้น
*โทรทัศน์เป็นสื่อเทคโนโลยีที่ภ าพมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เด็กอาจจะชอบ แต่เราจะพบว่า มันเป็นเพียงแค่สื่อที่ดึงให้สม องสนใจในระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้น แต่ไม่มีการประมวลผลข้อมูลในสมอ งเลย เด็กที่ติดโทรทัศน์จึงเสี่ยงต่อ การมีสมาธิสั้น เพราะสมองถูกกระตุ้นให้สนใจภาพท ี่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อยู่ตลอดเวลา และนี่เป็นกลยุทธ์ทางการตลาดหนึ ่งที่นำมาใช้ในการโฆษณา
Role of Medias พบว่า ไม่มีผลกระทบ (Impact) ต่อการเรียนรู้ในช่วง 2 ปีแรก มันมีอิทธิพลแค่การดึงสมาธิและค วามสนใจ แต่ไม่มีการประมวลผลข้อมูลในสมอ ง และเมื่อเขาพบเห็นภาพความรุนแรง ซ้ำๆ ภาพนั้นจะเป็นตัวแบบ (Model)ให้เขา
พบว่าในเด็กอายุ > 2 ปี สื่อเทคโนโลยีจะมีผลต่อการเรียน รู้ ดังนั้นการคัดเลือกให้เด็กดูสื่ อที่เหมาะสม เช่น รายการ Sesami street จะส่งผลต่อพัฒนาการเด็กได้ ในขณะที่ช่วงอายุ 3 – 5 ปี การศึกษายังไม่สามารถบอกได้ชัดเ จนว่าสื่อมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กห รือไม่ อย่างไร?
เกมส์ที่เราพบในสื่อเทคโนโลยีต่ างๆ เป็นตัวแทนของความท้าทายที่เด็ก ต้องการเท่านั้น แต่ในชีวิตจริงไม่ได้มีพียงแค่ก ารท้าทายเพียงอย่างเดียว ประเด็นคือว่าเราจะนำประสบการณ์ จากที่เด็กเล่นเกมส์มาใช้ในชีวิ ตประจำวันได้อย่างไร หรือเราควรจะทำเกมส์ที่พัฒนาขึ้ นมาโดยเฉพาะ เช่น เกมส์ที่ช่วยดึงเด็กที่มีอารมณ์ ซึมเศร้ากลับมาสู่ภาวะปกติ เป็นต้น
* เด็กที่มีปัญหาด้าน Sensory motor การอ่านจะช่วยพัฒนาเด็กกลุ่มนี้ ได้อย่างไร? ขณะที่ใช้หนังสือกับเด็กกลุ่มนี ้ให้พ่อแม่ดูตรงความสนใจ ความสนุก ปฏิกิริยาที่เขามีต่อหนังสือ ถ้าเขาไม่สนุกก็ให้ทำอย่างอื่น
พญ.นิตยา คชภักดี เคยใช้หนังสือกับเด็กที่มีปัญหา ด้าน Sensory motor เวลาเราจะให้หนังสือเพื่อให้พ่อ แม่นำไปใช้กับลูก ต้องให้เครื่องมือหรือวิธีการที ่เขาจะนำไปปรับใช้ได้ เช่น เด็กที่มีปัญหาทางหู ก็ให้ใช้ภาพช่วย เด็กที่มีปัญหาทางการมองเห็นก็จ ะใช้การออกเสียงช่วย และใช้มือสัมผัสหนังสือที่เป็นภ าพเฉพาะ ใช้วิธีMultisensory ในการเรียนรู้ เช้น พอพูดถึงลูกบอลก็เอาลูกบอลมาให้ จับ คือเราต้องหาสิ่งต่างๆมาช่วย Social Interaction ถ้าเป็นการบกพร่องทางหูจะใช้ภาพ บัตรคำ ตัวอักษร (ในเด็กแต่ละ Caseให้ดูที่ระดับ Threshold ของเด็กด้วย ) ในขณะที่เราอ่านหนังสือให้เด็กฟ ัง เราไม่ได้อ่านหนังสืออย่างเดียว แต่เรา “ต้องอ่านเด็กด้วย”
วันที่ 26 – 28 มีนาคม 2555
ณ ห้องประชุมรักตะกนิษฐ2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
Dr.Barry Zuckerman, MD
Brain and Child Development : Basic for reading
พัฒนาการพื้นฐานของทักษะการอ่าน
- ระบบประสาทสัมผัส
- กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- กล้ามเนื้อมัดเล็กและการใช้ตาแล
- สติปัญญา
... - พัฒนาการทางภาษา
- สังคมและอารมณ์
เราต้องเข้าใจทิศทางพัฒนาการ เราต้องรู้อะไรว่าเกิดก่อน – หลัง เพราะพัฒนการของเด็กจะเกิดขึ้นใ
ลำดับพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเ
- 6 เดือน เขี่ยสิ่งของโดยไม่มีเป้าหมาย
- 8 เดือน เขี่ยสิ่งของโดยใช้นิ้วหัวแม่มื
- 9 เดือน สามารถจับสิ่งของชิ้นเล็กโดยใช้
พ่อแม่ควรดู /
ลำดับพัฒนาการของการใช้ตาและมือ
- 6 เดือน คว้าของโดยไม่มีจุดหมาย
- 7 – 8 เดือน เริ่มทำมือเพื่อจะหยิบของ เมื่อมือถึงของที่จะหยิบ
- 9 เดือน เริ่มทำมือเมื่อพร้อมจะหยิบของใ
- 12 เดือน เริ่มทำมือเมื่อพร้อมจะหยิบของก
ความสามารถของการใช้กล้ามเนื้อม
ลำดับพัฒนาการของการเล่น
- 6 เดือน เริ่มคว้าของ และจะทำในลักษณะ React
- 7 – 8 เอาของเล่นมาเคาะกัน / เขย่า และเอาเข้าปาก
- 9 เดือน เริ่มมีการสำรวจของเล่นโดยใช้ตา
- 12 เดือน เล่นแบบมีปฏิสัมพันธ์กันทางสังค
- 18 เดือน เล่นแบบมีปฏิสัมพันธ์กันทางสังค
เมื่อเด็กๆ เล่น เขาจะ Explore สิ่งแวดล้อม โดยการเคาะ เขย่า ปา หมุนไป – มา เมื่อเขาได้สำรวจแล้ว การรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสของ
* ในประเด็นการมัฒนาการถดถอย ถ้าเด็กป่วยหรือมีภาวะอะไรบางอย
ลำดับพัฒนาการทางสติปัญญา : Object permanence
ลำดับขั้นของ Piaget อายุ Object permanence
I แรกเกิด – 1 เดือน มองวัตถุเหมือนภาพที่เปลี่ยนภาพ
II 1 – 4 เดือน ถ้าไม่เห็นวัตถุอยู่ในสายตา คือไม่มีวัตถุนั้น
III 4 – 8 เดือน เริ่มมองตามของที่ตก
IV 9 – 12 เดือน เริ่มหาของที่ถูกซ่อนไว้ ช่วง 9 เดือน+ เมื่อไม่เห็นของเด็กจะเริ่มรู้ว
V 12 – 18 เดือน เริ่มหาของที่ถูกซ่อนไว้ ถึงแม้จะเปลี่ยนที่ซ่อนให้เห็นห
VI 18 เดือน – 2 ปี หาของที่ถูกซ่อนไว้ ถึงแม้จะเปลี่ยนที่ซ่อนโดยไม่ให
* ช่วง 9 เดือน เด็กเริ่มมีภาพอะไรๆ อยู่ในสมอง เมื่อเขามองไม่เห็นหรือภาพถึงดึ
ความพร้อมของสมองทารก
1 ทารกจะจำเสียงมารดาได้
2 มารดาพูดด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย
3 แยกแยะเสียงได้
ลำดับพัฒนาการทางภาษา
- แยกแยะเสียง
- เปล่งเสียงที่ไม่ต้องใช้ริมฝีปา
- เปล่งเสียงที่ต้องใช้ริมฝีปาก เช่น เสียง “ป” ช่วง 9 เดือน
- พูดคำที่มีความหมายคำแรก ช่วง 13 เดือน ( -8 – 18 เดือน )
- ถ้าเสียงที่เด็กเปล่งออกไปมีการ
- เด็กจะมีความสามารถในการแยกแยะภ
สมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการอ่า
Trend in Cognitive Sciences
สมองและประสบการณ์แรกเริ่ม
พัฒนาการของสมอง
* พิจารณาจำนวนเซลล์ประสาทเมื่อแร
* เราจะช่วยให้เด็กมีทักษะในสมองเ
* ในช่วง 6 เดือนแรกควรใช้คนในการกระตุ้นพั
ลำดับพัฒนาการของการมีปฏิสัมพัน
1 ความผูกพันทางอารมณ์ (Attachment)
- 3 เดือน ผูกพันกับคนโดยเชื่อมกับหน้าที่
- 6 เดือน ผูกพันกับคนเชื่อมโยงจากปฏิกิริ
- 9 – 12 เดือน ไม่ชอบการพรากจากคนที่ใกล้ชิด (Separate protest)
- 12 – 24 เดือนจะคอยมองหาคนใกล้ชิดเวลาเล
2 ความเป็นตัวของตัวเอง (Autonomy)
อุปสรรคที่ขัดขวางการเรียนรู้
1. ความยากจน คนที่มีเศรษฐานะต่ำ หรือพ่อแม่ที่มีระดับการศึกษาต่
2. วัฒนธรรมการเลี้ยงดู ในบางวัฒนธรรมพ่อแม่พูดคุยกับลู
การส่งเสริมพัฒนาการในช่วงวัยเด
1 พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการ
2 ความสามรถในการเข้าถึงหน่วยงานท
การให้การศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
1 ครูที่มีทักษะในการสอน
2 จำนวนผู้เรียนในชั้นเรียนน้อย
3 หลักสูตรที่เหมาะสมกับความสามาร
4 สิ่งแวดล้อมที่มีการพูดคุยสื่อส
5 การตอบสนองต่อเด็กแบบนุ่มนวล
6 เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างส
Promoting Early Literacy : Reach out and Read
หลักฐานสำหรับการอ่านหนังสือแบบ
1 ความพร้อมของสมองทารก
- ทารกสามารถจำเสียงแม่ได้
- มารดาสื่อสารด้วยคำพูดง่ายๆเพื่
- การแยกแยะเสียง ภายใต้เงื่อนไขว่าเด็กต้องได้ยิ
* หนังสือที่สอนหรือช่วยในการแยกแ
* ช่วงอายุประมาณ 18 เดือน เด็กจะสามารถเรียนรู้การถือหนัง
* ช่วงแรกเราควรให้คำสำคัญกับการร
ความสำคัญของการอ่านอ่านหนังสือ
1 เรียนรู้การถือหนังสือ การเปิดหน้าหนังสือ การเริ่มอ่านจากหน้าแรก
2 โครงสร้างของเรื่อง การเริ่มต้นเรื่อง ตอนกลางของเรื่อง และตอนท้ายของเรื่อง
3 เข้าใจพื้นฐานของเสียงที่ประกอบ
4 เข้าใจทักษะพื้นฐานในการอ่าน : รู้จักพยัญชนะ
5 เข้าใจว่าตัวหนังสือที่เห็นเป็น
6 เปอร์เซนต์ของจำนวนคำใหม่และคำท
7 พัฒนาการทางอารมณ์
- มีความสนใจร่วม
- ได้รับความสนใจจากพ่อ แม่
- สื่อสารอารมณ์ได้ เช่น เสียใจ อิจฉา ไม่เห็นด้วย ความตาย หนังสือที่สามารถส่งผลต่อพัฒนาก
* การอ่านเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์
* ในกรณีเด็กออทิสติกเราสามารถใช้
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 0 – 12 เดือน
- รูปภาพที่มีรูปเด็กอื่น
- สีสันสวยสดใส
- มีรูปภาพสิ่งของที่คุ้นเคย เช่น ลูกบอล
- ขนาดเล็กกะทัดรัดเพื่อให้เด็กถื
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 12 – 24 เดือน
- หนังสือนิทานที่เด็กสามารถถือไป
- หนังสือที่มีรูปภาพกิจกรรมที่เด
- หนังสือนิทานก่อนเข้านอน
- หนังสือที่เกี่ยวกับการทักทาย การลา
- หนังสือที่มีตัวหนังสือน้อยๆ ในแต่ละหน้า
- หนังสือที่มีคำคล้องจองหรือมีคำ
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 24 – 36 เดือน
- หนังสือนิทานหรือหนังสือที่ทำด้
- หนังสือที่มีเสียงคล้องจอง มีจังหวะเวลาอ่าน หรือมีคำซ้ำๆ ที่เด็กสามารถจำได้ง่าย
- หนังสือที่เกี่ยวกับเด็ก ครอบครัว เพื่อน อาหารและสัตว์
- หนังสือที่สอนคำศัพท์
สิ่งที่เด็กชอบในหนังสือ : ช่วงอายุ 2 – 5 ปี
- หนังสือที่มีการดำเนินเรื่อง
- หนังสือที่มีคำง่ายๆ ที่เด็กสามารถจำได้
- หนังสือที่เกี่ยวกับเด็ก
- หนังสือที่เกี่ยวกับการไปโรงเรี
- หนังสือที่เกี่ยวกับการนับ ตัวอักษร คำศัพท์
* พัฒนาการนั้นมีลำดับขั้นตอนในตั
* การจะส่งเสริมการอ่านในครอบครัว
* ในกรณีที่เจอเด็กที่ไม่มีปฏิสัม
* บทบาทของพ่อในการเล่นกับลูก พ่อในสังคมไทยไม่รู้จะเล่นกับลู
(พญ.นิตยา คชภักดี)
* Dr.Barry Zuckerman พูดถึงระบบการศึกษาของไทยที่เริ
เราสามารถใช้หนังสือประเมินพัฒน
* การทำกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในค
การทำกิจกรรมการอ่าน ความเข้าใจภาษาของเด็กจะมาก่อนก
* ความเครียดมีผลต่อสมองอย่างมาก ความเครียดที่ต่อเนื่องกันจะส่ง
เมื่อเผชิญกับเหตุการณ์สมองของเ
* ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อตัวเด็ก
- ความสามารถในการใช้ภาษาช้าลง ไม่มีการพัฒนาด้านภาษาขึ้นมาเลย
จากการศึกษา ไม่พบนัยสำคัญทางบวกเกิดขึ้นทาง
*โทรทัศน์เป็นสื่อเทคโนโลยีที่ภ
Role of Medias พบว่า ไม่มีผลกระทบ (Impact) ต่อการเรียนรู้ในช่วง 2 ปีแรก มันมีอิทธิพลแค่การดึงสมาธิและค
พบว่าในเด็กอายุ > 2 ปี สื่อเทคโนโลยีจะมีผลต่อการเรียน
เกมส์ที่เราพบในสื่อเทคโนโลยีต่
* เด็กที่มีปัญหาด้าน Sensory motor การอ่านจะช่วยพัฒนาเด็กกลุ่มนี้
พญ.นิตยา คชภักดี เคยใช้หนังสือกับเด็กที่มีปัญหา
พ่อแม่ต้องเป็นนักสังเกตการณ์ที ่ดี
ขอบคุณข้อมูลดีๆจากคุณเจ แห่ง TK Park
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น