อยากนำมาแบ่งปันกัน เพื่อเราจะได้มีลูกหลานไทยที่ฉลาดๆมากๆ แล้วช่วยกันพัฒนาประเทศไทยกันน่ะค่ะ เซลสมอง
ของเด็กสามารถแยกรับเสียงภาษาต่างๆได้ตั้งแต่แรกเกิด ภายใน 8-12 เดือนแรก
เด็กจะแยกแยะเสียงต่างๆได้ดีแล้ว การเรียนรู้จะไปได้ดี จนถึงอายุ 7 ปี
หลังจากนั้นจะกระตุ้นได้ยากขึ้น
การอ่านหนังสือเป็นการกระตุ้นพัฒนาการด้านภาษาที่ดี
เด็กควรได้รับฟังบทเพลงภาษาท้องถิ่นและดนตรีต่างวัฒนธรรมได้ตั้งแต่ขวบปีแรก
ดังนั้นการเปิดเพลงภาษาที่หลากหลายและสนทนาให้เด็กฟัง
ตั้งแต่วัยเด็กเป็นสิ่งที่ดี ที่ผู้ดูแลเด็กควรทำอย่างสม่ำ เสมอ
การกระตุ้นภาษาที่ต่างกันในวัยเด็ก
คือที่มาของความเหลื่อมล้ำในพัฒนาการทางภาษา อารมณ์และจิตใจของเด็ก
๑. ทำไมสมองจึงฉลาดขึ้น? : จุดเริ่มต้นของความเฉลียวฉลานคือการกระตุ้นสมองให้ทำงาน โดยธรรมชาติคือการลงมือทำสิ่งต่างๆ
งานที่สมองถนัดที่สุดก็คือ "การเรียนรู้" (learning) ระบบในสมองก็ออกแบบมาเพื่อท
หลักการสำคัญที่จะทำให้สมอง
๑.สมองของเราฉลาดขึ้นโดยการ
เซลสมองจะมีเดนไดรท์ (แขนของเซล) งอก แตกแขนง เมื่อผ่านเหตุการณ์แปลกใหม่
๒.สมองจะฉลาดขึ้น ถ้าได้ผ่านกระบวนการเรียนรู
หลักการสำคัญ คือ
- เด็กทารกและเด็กเล็ก : เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดที่
- เด็กวัยประถมปลายเป็นต้นไป : สมองส่วนสัมผัสและเคลื่อนไห
- เด็กวัยรุ่น : เป็นช่วงที่สมองมีความพร้อม
พรพิไล เลิศวิชา : ครูเก่งเด็กฉลาด,สำนักวิชาก
๒. สมองจำเป็นต้องใช้พลังงาน : สมองมีขนาดเล็กกว่าร่างกายมาก แต่สมองต้องการพลังงาน ถึง20 % ของพลังงานทั้งหมดที่ร่างกายใช้ในแต่ละวัน
พลังงานสำคัญที่สมองได้รับนั้น
- สมองต้องการอาหารและน้ำ : เช่นเดียวกับร่างกาย วันหนึ่งสมองต้องการน้ำประม
- สมองต้องการออกซิเจน : สมองใช้ออกซิเจน 20% ของปริมาณออกซิเจนทั้งหมดที
- สมองต้องการสารอาหารที่จำเป
- สมองต้องการเสียง (sound) : เป็นที่มาของพลังงานที่สำคั
ที่มา : พรพิไล เลิศวิชา. ครูเก่งเด็กฉลาด,สำนักวิชาก
๓. อารมณ์สำคัญต่อสมองหรือไม่ : สมองจะเก็บเฉพาะข้อมูลและที่ดึงดูดความสนใจ มีความหมาย มีความสำคัญ ดังนั้นอารมณ์จึงเป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ ที่ทำให้เราจำหรือลืมไป
ข้อมูลที่ดึงดูดอารมณ์ หรือความสนใจของสมองจนทำให้ สมองสามารถบันทึกข้อมูลนั้น ไว้ได้ดี มีลักษณะที่สำคัญ คือ
๑.ข้อมูลนั้นมีความแปลกใหม่
๒.ข้อมูลนั้นมีความเข้มข้นจ ัดจ้าน
๓.ข้อมูลนั้นมีการเคลื่อนไห ว
๔.ข้อมูลนั้นมีความหมาย...
๕.ข้อมูลนั้นกระตุ้นอารมณ์แ ละความรู้สึก
ดังนั้นในการออกแบบแผนการสอ น สื่อการสอน เพื่อกระตุ้นให้เด็กสนใจเรี ยนรู้ และสมองจำข้อมูลได้ดี คุณครูจึงควรคำนึงถึงหลักกา รทั้ง ๕ ข้อข้างต้นเป็นสำคัญ
๑.ข้อมูลนั้นมีความแปลกใหม่
๒.ข้อมูลนั้นมีความเข้มข้นจ
๓.ข้อมูลนั้นมีการเคลื่อนไห
๔.ข้อมูลนั้นมีความหมาย...
๕.ข้อมูลนั้นกระตุ้นอารมณ์แ
ดังนั้นในการออกแบบแผนการสอ
๔. อ่านให้หนูฟังหน่อย : ถ้าจะให้สมองของเด็กอนุบาลพัฒนา ต้องพัฒนาสมองส่วนควบคุมภาษาพัฒนาให้ดีเสียก่อน โดยการอ่านหนังสือให้เด็กฟังและพูดคุยกับเด็ก
๕. EQดี มาจากสมองแบบไหน
: การพัฒนาศักยภาพทางอารมณ์เป็นการพัฒนาทางภาพรวม
สิ่งสำคัญคือให้เด็กได้มีการเคลื่อนไหวและใช้ประสาทสัมผัส
ซื่งเป็นการพัฒนาการสำคัญของสมองเด็กปฐมวัย
ปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อ บุคลิกภาพของเด็ก มีดังต่อไปนี้
1. เด็กได้เล่นมากแค่ไหน?
2. เด็กได้มีโอกาสสัมผัสประสบก ารณ์ ในการฟัง พูด อ่าน เขียน มากแค่ไหน และเนื้อหานั้นเป็นอย่างไร
3. เด็กมีของเล่นมากพอหรือเปล่ า...
4. มีปฏิสัมพันธ์กันในครอบครัว หรือเปล่า
5. เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน หรือเปล่า
6. เด็กได้รับความรัก ความเอ็นดู ความชื่นชมบ้างหรือเปล่า
7. ในบ้านมีการแสดงออกอย่างเป็ นธรรมชาติหรือเปล่า
8. มีกิจกรรมอะไรที่เป็นการลับ สมอง เช่น เล่นทายปริศนา หรือเกมต่างๆ บ้างหรือไม่ ได้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ที่บ้าน ในชุมชน และในโรงเรียนหรือเปล่า
9. ในชีวิตของเด็ก เด็กเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ หรือ
เปล่า ว่าทุกอย่างมีข้อจำกัด ต้องมีการควบคุม และต้องมีวินัย
(ทั้งการตามใจจนเกินไป และเข้มงวดจนเกินไป ก็ล้วนแต่มีผลเสียต่อความมั ่นคงทางอารมณ์และบุคลิกภาพ)
สิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวกระตุ้ น และเปลี่ยนแปลงเด็กอยู่ทุกวัน ปัจจัยทั้ง 9 ประการที่กล่าวมาข้างต้นนั้ น มีผลอย่างยิ่งต่อพัฒนาการขอ งเด็กในแต่ละวันที่ผ่านไป
1. เด็กได้เล่นมากแค่ไหน?
2. เด็กได้มีโอกาสสัมผัสประสบก
3. เด็กมีของเล่นมากพอหรือเปล่
4. มีปฏิสัมพันธ์กันในครอบครัว
5. เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน
6. เด็กได้รับความรัก ความเอ็นดู ความชื่นชมบ้างหรือเปล่า
7. ในบ้านมีการแสดงออกอย่างเป็
8. มีกิจกรรมอะไรที่เป็นการลับ
9. ในชีวิตของเด็ก เด็กเรียนรู้ผ่านประสบการณ์
สิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวกระตุ้
๖. ขณะที่เล่นสิ่งที่สมองทำคือ
-ก่อรูปท่วงท่าหรืออิริยาบทถัดไป ของปฎิบัติการที่จะทำไว้ในสมอง
-ก่อรูปหรือคาดการณ์ผลที่จะเกิดจากปฎิบัติการนั้นไว้ในสมอง
-เมื่อลงมือทำตามที่คาดคิดไว้แล้ว ก็รอรับรู้ว่าผลที่จะเกิดขึ้นของการปฎิบัติการว่าเป็นไปตามที่สมองคิดไว้หรือไม่
-รับรู้ผลที่เกิดขึ้น แล้วนำไปเปรียบเทียบกับผลที่คาดการณ์ไว้
-สมองจัดการปรับแต่งปฎิบัติการให้ตรงกับความเป็นจริงยิ่งขึ้นต่อไป
ดังนั้น การเล่นจึงเป็นหัวใจสำคัญของการเรียนรู้นั่นเอง
ดังนั้น การเล่นจึงเป็นหัวใจสำคัญของการเรียนรู้นั่นเอง
๗.บุคคลิกภาพและนิสัยใจคอต้องฝึกตั้งแต่เด็ก อย่าคิดว่า รอให้โตเสียก่อน การปลูกฝังไม่ใช่เพียงการสอนด้วยคำพูดและการให้เหตุผล ที่สำคัญต้องให้เด็กได้ประสบการณ์จริงจากชีวิตจริง รู้จักร้อนเป็น หนาวเป็น เหนื่อยเป็น หิวเป็น ไม่ใช่รู้จักแต่ความสุข แต่ต้องรู้จักความทุกข์ของตัวเองและคนอื่น ไม่ควรประคับประคองหรือทำแทนเด็กหมดทุกอย่าง สมองจะเรียนรู้สิ่งใดได้ดี ต้องรู้จักเอาร่างกายลงมือปฎิบัติด้วยตนเอง
๘. ควรยกระดับวิธีคิด วิธีพูดวิธีใช้เหตุผลของเด็กให้โตขึ้นและก้าวหน้าขึ้นตามวัย วิธีที่หนึ่งคือ สนทนา(dialogue)กับเด็กจริง อย่าคุยพอผ่านๆไปควรใช้ตรรกะของความเป็นจริงและชีวิตมาพูดคุยกับเด็กโดยสมำ ่เสมอ แสดงให้เห็นโลกหลายด้าน ภาษาที่ใช้เป็นสิ่งหนึ่งทีจะช่วยยกระดับความคิด หรือวิธีคิดของเด็ก ควรเลือกใช้คำพูด คำศัพท์ คำอุปมาอุปมัย ยกอุทาหรณ์สุภาษิต เพื่อยกระดับ ความสามารถในการคิดของด็ก เช่น อย่าเขียนเสือให้วัวกลัว คนล้มอย่าข้าม วัวหายล้อมคอก เสียน้อยเสียมาก เสียมากเสียง่าย เหล่านี้ควรพูดเป็นประจำเพื่อปลูกฝังวิธีคิดของเด็กตั้งแต่ยังเล็ก
๙. ภาพยนต์เป็นสี่อที่เป็นแรงจูงใจ และสร้างวิธีคิดให้เด็กซึมซับได้ดีวิธีหนึ่ง ควรหาภาพยนต์ดีๆทั้งของไทยและสากล ที่สำคัญคุณพ่อคุณแม่ควรนั่งดูอยู่ด้วยเพื่อสร้างบรรยากาศความเป็นครอบครัว ทั้งเป็นโอกาสอันดีที่จะได้รู้จักความคิดของคนในครอบครัวซึ่งกันและกัน โดยผ่านตัวละครและช่วยกระตุ้นพัฒนาการความคิด นอกจากภาพยนต์ชีวิตแล้ว ควรดูสารคดี ตั้งแต่ยังเด็ก อย่าสอนให้เด็กดูแต่ละครเจ้าชายเจ้าหญิง หรือภาพยนต์เบาสมอง ควรมีภาพยนต์ดีๆอยู่ในมือ ไม่ใช่จัดหาไปตามกระแสโฆษณา
๑๐.อ่านหนังสือให้เด็กฟังเป็นประจำ
เราควรจะอ่านหนังสืออะไรให้เด็กฟังบ้าง?
ควรเริ่มจากหนังสือภาพที่มีตัวอักษรน้อยๆ จนถึงไม่มีภาพ
กระจายประเภคของหนังสือที่อ่านให้กว้างขวาง เช่นหนังสือประเภควรรณกรรมเด็ก
สารคดีที่สอดคล้องกับวัยของเด็ก แม้นมีศัพย์ยากปนบ้างก็ไม่เป็นไรอย่ากังวล
ถ้าหนังสือน่าสนใจ
เด็กจะอยากฟังและจะสนใจเรียนรู้คำศัพท์ยากโดยวิธีลัดคือเทียบเคียงถอดความ
เข้าใจ จากกระบวนความตามเรื่องที่ได้ฟัง ยิ่งอ่านมากเด็กยิ่งมีคลังคำศัพท์(
word bank) อยู่ในสมองและพัฒนาการด้านการคิดจะดีขึ้น
การอ่านให้ฟังควรทำไปจนถึงชั้นประถมปลาย เพียงแต่ลดความถี่ลง
หนังสือบางเล่มอ่านให้ฟังเพียงบทเดียว เด็กสนใจก็จะตามอ่านต่อเอง
หวัง
ว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์มากที่สุดสำหรับทุกๆท่านน่ะค่ะ
เด็กจะเติบโตแบบมีคุณภาพ เป็นคนดีมีความสามารถ
ก็ขึ้นกับผู้ใหญ่รอบตัวเด็กช่วยกันพัฒนาเด็กๆเหล่านี้น่ะค่ะ
ขอบคุณข้อมูลจาก Brain based learning
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น